เป็นตอนต่อจากบทความที่แล้วครับ
ไม่รู้จะแกะยังไงก็เลยแกะไป คิดแบบไปพลาง
มาลงเอย...ก็ที่เห็นนะครับ
เป็นรูปพระสิวลีนั่งถือบาตร
มีย่ามที่แขวนอยู่กับไม้เท้าหัวพระยานาค
เขียนอักขระคำว่า นะ ชา ลี ติ
พระสิวลีแกะกะลามหาอุต, กะลาตาบอด
ส่วนอีกมือหนึ่งจะถือกลด อันเป็นเครื่องหมายของการเดินธุดงค์
โดยรอบชิ้นงานผมมักจะทำรัศมีไว้แทบทั้งนั้น
ดังนั้นผิวของเนื้องานจึงไม่ค่อยเรียบ
ดังนั้นผิวของเนื้องานจึงไม่ค่อยเรียบ
และยังทำให้เก็บผงกะลาไว้สำหรับสร้างงานอื่นได้ง่ายอีกด้วย
พระสังกัจจายน์แกะกะลามหาอุต, กะลาตาบอด
อีกด้านหนึ่ง จะเป็น พระสังกัจจายน์นั่งปิดพุง
อีกด้านหนึ่ง จะเป็น พระสังกัจจายน์นั่งปิดพุง
พระสังกัจจายน์แกะกะลามหาอุต, กะลาตาบอด
จริงๆแล้วพระสังกัจจายน์นั่งปิดพุง เปิดพุง หงายมือ หรือถือถุงเงินถุงทอง
จริงๆแล้วพระสังกัจจายน์นั่งปิดพุง เปิดพุง หงายมือ หรือถือถุงเงินถุงทอง
มีคติการสร้างอย่างไรนั้นจนปัญญาที่จะรู้ได้ครับ
ด้วยเหตุที่ไม่รู้ ก็เลยเอาแบบที่
ด้วยเหตุที่ไม่รู้ ก็เลยเอาแบบที่
ท่านโบราณจารย์ได้สร้างเอาไว้เป็นแบบแผน
หลังจากนี้อีกไม่กี่วันก็คงนำส่งคืนท่านเจ้าของ
หลังจากนี้อีกไม่กี่วันก็คงนำส่งคืนท่านเจ้าของ
หลังจากอยู่กับผมมาก็เกือบ 2 เดือนแต่แกะจริงก็ไม่กี่วัน
แกะวันละนิดวันละหน่อยค่อยๆทำจนเสร็จ
ส่วนสีกะลาที่เข้มขึ้นนั้นเกิดจากทาด้วยน้ำมันจันทร์ครับ
กลิ่นหอมดี
................